วันอาทิตย์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2554

การออกแบบและการนำเสนออย่างสร้างสรรค์ด้วยคอมพิวเตอร์

การออกแบบสื่อด้วยดิจิทัลนำเสนอผลงานด้วย Power point

ความเป็นมาของ PowerPoint
โปรแกรม Power Pointเริ่มแรกนั้นได้รับการพัฒนาโดย บ๊อบ กัสกินส์ (Bob Guskins)อดีตนักศึกษาระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยแคลิฟอเนีย เบิร์กเลย์ USAโดยกัสกินส์เขียนโปรแกรมสร้างแผ่นสไลด์ สามารถนาสไลด์มาเรียงลาดับเป็นผลงานการนาเสนอแบบง่ายๆ
การนำเสนอโดย Power point
      - ต้องมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
      - เสียเวลาในการเรียนวิธีใช้โปรแกรม
      - ยุ่งยากต่อการออกแบบสไลด์
      - ต้องการเครื่องฉายสไลด์
                    
 ทำไมต้อง Power point ?
      - แก้ไขข้อความได้ง่าย
      - ภาพที่ออกมาคมชัด
      - ง่ายต่อการควบคุมการเปลี่ยนสไลด์
      - เพิ่มภาพประกอบได้
      - ใส่ภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียงได้
      - พิมพ์ออกเพื่อเตรียมตัวนำเสนอ

ตัวอย่างสื่อการนำเสนอ
กระดานขาว หรือดา
แผ่นใส
สไลด์ 35 มม.
คอมพิวเตอร์ (Power Point)
•Visualizer
โปสเตอร์

ส่วนประกอบในสไลด์
      - แผ่นสไลด์                       
      - ตัวอักษร                          
      - Flow Chart                      
      - ตาราง                  
      - ภาพประกอบ
      - ภาพเคลื่อนไหว
      - กราฟ
      - เสียง

การวางรูปแบบของสไลด์
      - ใช้รูปแบบสไลด์ 35 mm.
      - วางแนวนอน
      - ใช้เทมเพลตที่มีในโปรแกรม
      - เว้นขอบทั้งสี่ด้านให้ว่าง 0.5 นิ้ว
      - จัดเนื้อหาให้อยู่กลางสไลด์
         
การใช้ตัวอักษรประกอบ
      - ใช้ข้อความแทนประโยค
      - มีข้อมูลควรจัดให้เป็นหัวข้อ
      - ใช้ Key word เพื่อเพิ่มจุดสนใจ

การใช้ภาพประกอบ
      - ภาพที่ใช้ต้องช่วยเสริมข้อความที่เสนอ
      - ไม่ควรมีตัวอักษรในภาพถ้าไม่จำเป็น
      - ตัวอักษรที่ใช้ควรให้เงาเพื่อเพิ่มความชัด
      - ลดสิ่งที่ทำให้เกิดความยุ่งเหยิง
      - ภาพที่ใช้อาจทำให้ขนาดของแฟ้มข้อมูลใหญ่เกินไป

แนวทางการออกแบบ Power point
      - สื่อถึงเนื้อหาที่นำเสนอ
      - หนึ่งสไลด์ต่อหนึ่งความคิด
      - ชัดเจนและสะดวกต่อการอ่าน
      - ความสมดุลและคงเส้นคงวา
      - ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น
   
ส่วนประกอบการออกแบบ Power point
      - Introduction ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้นำเสนอ หน่วยงาน
      - ลำดับหัวข้อในการนำเสนอ
      - เนื้อหาตามลำดับหัวข้อ
      - บทสรุปการนำเสนอ
      - อ้างอิงหรือขอบคุณ

การเตรียมตัวนำเสนอ
      - ศึกษาข้อมูลทั่วไปสำหรับการนำเสนอ
      - ศึกษาวิธีการควบคุม Slide Show
      - นำเสนอผลงาน      

#สรุป#
มีหัวเรื่องทุกสไลด์
ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ และหลายรูปแบบ
สีและรูปแบบตัวอักษรไม่ควรมากเกินไป
พื้นหรือ Background ไม่ควรยุ่งเหยิง
หัวข้อย่อยไม่ควรมากกว่า 6 หัวข้อต่อสไลด์
ลำดับความสำคัญของหัวข้อย่อย
ใช้กราฟเมื่อต้องการเปรียบเทียบ ดูแนวโน้ม และแสดงความสัมพันธ์
ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น
ควรเว้นช่องไฟให้เหมาะสม
เพิ่มข้อมูลที่ขาดหายไปเมื่อจำเป็น
  
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น